ไม่อยากเข่าพังใช่ไหม!
โดย:
aloha
[IP: 113.53.228.xxx]
เมื่อ: 2019-11-18 12:33:26
วัยนี้แล้วก็ต้องหาความรู้ให้มาก อะไรที่เสี่ยง อะไรที่ไม่คุ้มก็ต้องไม่ทำ ต้องหลีกเลี่ยง อันดับหนึ่งพึงรู้คือข้อเข่า 40 พลัสวันนี้ ขอเสริมความรู้เรื่องเข่าและพฤติกรรมเสี่ยงที่คุณต้องรู้ก่อนเข่าพัง
การหลีกเลี่ยงปัญหากระดูกพรุน ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ทั้งนั้น นั่นคือระมัดระวังพฤติกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1.ระวังไม่กินอาหารประเภทโปรตีนหรือเนื้อสัตว์มากเกินไป เพราะการกินโปรตีนมากเกินไปจะกระตุ้นให้ไตขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ
2.ระวังไม่กินอาหารเค็มจัดหรือมีโซเดียมมาก เพราะเกลือโซเดียมที่มากเกินจะทำให้การดูดซึมของแคลเซียมจากลำไส้ลดลง ร่างกายจึงไม่สามารถนำแคลเซียมมาใช้ได้ และยังทำให้การสูญเสียแคลเซียมทางไตมากขึ้นด้วย
3.ไม่ควรดื่มน้ำอัดลมในปริมาณมาก เพราะในน้ำอัดลมมีส่วนผสมที่ชื่อ “กรดฟอสฟอริก” ที่ทำให้เกิดฟองฟู่ การดื่มน้ำอัดลมมากทำให้ความสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสียไป (มีฟอสฟอรัสมากขึ้น) ร่างกายจึงจำเป็นต้องสลายแคลเซียมออกจากคลังกระดูก เพื่อป้องกันไม่ให้ฟอสฟอรัสในเลือดสูงเกินไปจนส่งผลอันตรายต่อชีวิต
4.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มจำพวกเหล้า เบียร์ ชา กาแฟ ช็อกโกแลต แอลกอฮอลฃ์หรือคาเฟอีน ในเครื่องดื่มเหล่านี้จะไปขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียม ทำให้ร่างกายขับแคลเซียมออกมามากขึ้น เพราะฉะนั้นไม่ควรดื่มชาการแฟเกินวันละ 3 ถ้วย
5.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ แคลเซียมมีบทบาทสำคัญในการรักษาความสมดุลระหว่างค่าความเป็นกรดด่างของเลือด การสูบบุหรี่ทำให้ร่างกายมีภาวะเป็นกรด แคลเซียมจะเข้ามามีบทบาทในการสะเทินฤทธิ์กรดจากบุหรี่ ดังนั้น บุหรี่ทุก ๆ มวนจึงเป็นตัวที่ทำให้แคลเซียมละลายจากกระดูก นอกจากนี้ บุหรี่ยังทำให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในผู้หญิงต่ำกว่าปกติด้วย จึงยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกพรุน
6.ระวังการใช้ยาบางชนิด เช่น ยากล่อมประสาท ยาที่มีสารสเตียรอยด์ ยาลดกรดที่มีอะลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบ ยาเหล่านี้เร่งการขับแคลเซียมออกจากร่างกาย ดังนั้น หากจำเป็นต้องกินเป็นเวลานาน ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอ
ส่งท้ายด้วยการป้องกันภาวะกระดูกพรุน กำชับตัวเองให้กินอาหารครบหมวดหมู่ ได้รับแคลเซี่ยมในปริมาณเหมาะสม ร่วมกับการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ ไม่กินอาหารโปรตีนมากเกินไป ไม่กินอาหารเค็มจัดหรือที่มีโซเดียมมากเกินไป ไม่ดื่มน้ำอัดลม หลีกเลี่ยงแอลกอฮอลล์ ชา กาแฟ ช็อคโกแลต และการสูบบุหรี่
สุดท้ายคือการระมัดระวังการใช้ยาบางชนิด เช่น ยากล่อมประสาท ยาที่มีสารสเตียรอยด์ ถ้ามีความจำเป็นต้องใช้ยาในกลุ่มเสี่ยงนาน ๆ พึงใช้ภายใต้ความดูแลของแพทย์
ติดตามข่าวสารต่อได้ที่ slot
การหลีกเลี่ยงปัญหากระดูกพรุน ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ทั้งนั้น นั่นคือระมัดระวังพฤติกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1.ระวังไม่กินอาหารประเภทโปรตีนหรือเนื้อสัตว์มากเกินไป เพราะการกินโปรตีนมากเกินไปจะกระตุ้นให้ไตขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะมากผิดปกติ
2.ระวังไม่กินอาหารเค็มจัดหรือมีโซเดียมมาก เพราะเกลือโซเดียมที่มากเกินจะทำให้การดูดซึมของแคลเซียมจากลำไส้ลดลง ร่างกายจึงไม่สามารถนำแคลเซียมมาใช้ได้ และยังทำให้การสูญเสียแคลเซียมทางไตมากขึ้นด้วย
3.ไม่ควรดื่มน้ำอัดลมในปริมาณมาก เพราะในน้ำอัดลมมีส่วนผสมที่ชื่อ “กรดฟอสฟอริก” ที่ทำให้เกิดฟองฟู่ การดื่มน้ำอัดลมมากทำให้ความสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสียไป (มีฟอสฟอรัสมากขึ้น) ร่างกายจึงจำเป็นต้องสลายแคลเซียมออกจากคลังกระดูก เพื่อป้องกันไม่ให้ฟอสฟอรัสในเลือดสูงเกินไปจนส่งผลอันตรายต่อชีวิต
4.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มจำพวกเหล้า เบียร์ ชา กาแฟ ช็อกโกแลต แอลกอฮอลฃ์หรือคาเฟอีน ในเครื่องดื่มเหล่านี้จะไปขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียม ทำให้ร่างกายขับแคลเซียมออกมามากขึ้น เพราะฉะนั้นไม่ควรดื่มชาการแฟเกินวันละ 3 ถ้วย
5.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ แคลเซียมมีบทบาทสำคัญในการรักษาความสมดุลระหว่างค่าความเป็นกรดด่างของเลือด การสูบบุหรี่ทำให้ร่างกายมีภาวะเป็นกรด แคลเซียมจะเข้ามามีบทบาทในการสะเทินฤทธิ์กรดจากบุหรี่ ดังนั้น บุหรี่ทุก ๆ มวนจึงเป็นตัวที่ทำให้แคลเซียมละลายจากกระดูก นอกจากนี้ บุหรี่ยังทำให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในผู้หญิงต่ำกว่าปกติด้วย จึงยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกพรุน
6.ระวังการใช้ยาบางชนิด เช่น ยากล่อมประสาท ยาที่มีสารสเตียรอยด์ ยาลดกรดที่มีอะลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบ ยาเหล่านี้เร่งการขับแคลเซียมออกจากร่างกาย ดังนั้น หากจำเป็นต้องกินเป็นเวลานาน ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอ
ส่งท้ายด้วยการป้องกันภาวะกระดูกพรุน กำชับตัวเองให้กินอาหารครบหมวดหมู่ ได้รับแคลเซี่ยมในปริมาณเหมาะสม ร่วมกับการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ ไม่กินอาหารโปรตีนมากเกินไป ไม่กินอาหารเค็มจัดหรือที่มีโซเดียมมากเกินไป ไม่ดื่มน้ำอัดลม หลีกเลี่ยงแอลกอฮอลล์ ชา กาแฟ ช็อคโกแลต และการสูบบุหรี่
สุดท้ายคือการระมัดระวังการใช้ยาบางชนิด เช่น ยากล่อมประสาท ยาที่มีสารสเตียรอยด์ ถ้ามีความจำเป็นต้องใช้ยาในกลุ่มเสี่ยงนาน ๆ พึงใช้ภายใต้ความดูแลของแพทย์
ติดตามข่าวสารต่อได้ที่ slot
- ความคิดเห็น
- Facebook Comments