ปริมาณอาหารที่ควรกิน เพื่อสุขภาพที่ดีสำหรับคนทุกรูปร่าง
โดย:
Losa
[IP: 113.53.228.xxx]
เมื่อ: 2019-12-04 14:30:45
คนไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีความชุกของภาวะอ้วน หรือดัชนีมวลกายเกิน 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ร้อยละ 37.5 และพบโรคเบาหวานร้อยละ 8.9 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 24.7 ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ดังนั้น สำนักโภชนาการจึงขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพวัยทำงานจึงทำอาหาร S, M, L ขึ้น เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของตัวเอง
วิธีคำนวณดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย (BMI) = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) หารส่วนสูง (เมตร) ยกกำลัง 2
ยกตัวอย่าง เช่น ถ้าคุณมีน้ำหนัก 60 กิโลกรัม และสูง 155 ซม.
ดัชนีมวลกาย (BMI) = 60 ÷ (1.55) ยกกำลัง 2
ดัชนีมวลกาย (BMI) = 24.97
ดัชนีมวลกาย ต่ำกว่า 18.5 = น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
ดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 = น้ำหนักปกติ
ดัชนีมวลกาย 23-24.9 = น้ำหนักเกิน ระดับ 1
ดัชนีมวลกาย 25-29.9 = โรคอ้วน น้ำหนักเกินระดับ 2
ดัชนีมวลกาย มากกว่า 30 เป็นต้นไป = โรคอ้วนอันตราย
อาหาร S, M, L เพื่อคนอ้วนหลายระดับ
อ่านต่อ : สล็อตxo
วิธีคำนวณดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย (BMI) = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) หารส่วนสูง (เมตร) ยกกำลัง 2
ยกตัวอย่าง เช่น ถ้าคุณมีน้ำหนัก 60 กิโลกรัม และสูง 155 ซม.
ดัชนีมวลกาย (BMI) = 60 ÷ (1.55) ยกกำลัง 2
ดัชนีมวลกาย (BMI) = 24.97
ดัชนีมวลกาย ต่ำกว่า 18.5 = น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
ดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 = น้ำหนักปกติ
ดัชนีมวลกาย 23-24.9 = น้ำหนักเกิน ระดับ 1
ดัชนีมวลกาย 25-29.9 = โรคอ้วน น้ำหนักเกินระดับ 2
ดัชนีมวลกาย มากกว่า 30 เป็นต้นไป = โรคอ้วนอันตราย
อาหาร S, M, L เพื่อคนอ้วนหลายระดับ
อ่านต่อ : สล็อตxo
- ความคิดเห็น
- Facebook Comments